เส้นใย สิ่งทอ เส้นไหม เส้นใยสังเคราะห์ fibers
เราแบ่งเส้นใยเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
เส้นใยจากธรรมชาติ (Natural fibers) เส้นใยจากพืช เช่น ฝ้าย ปอ ป่าน นุ่น ลินิน รามี เส้นใยสัตว์ เช่น ไหม (silk) ผม (hair) ขนสัตว์ (wool) จากแร่ เช่น แร่ใยหิน (asbestos)
เส้นใยจากการประดิษฐ์ (Man-made fibers) ประดิษฐ์จากธรรมชาติ เช่น เรยอน อะซิเทต ไตรอะซีเทต เส้นใยสังเคราะห์ เช่น โพลีเอสเทอร์ ไนลอน โอเลฟินส์ โพลีอรามิด จากแร่และเหล็ก เช่น เซรามิก กราไฟต์ โลหะ แก้ว
แต่บทความนี้เราจะมาดูเส้นใย ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM เพื่อดูลักษณะเส้นใย ขนาดเส้นใย ลักษณะการทอ ฯลฯ
ลักษณะเส้นใยที่เรานำมาเป็นตัวอย่างในการถ่ายภาพ ตามภาพ จะมีผ้าที่ทอแล้ว เรานำมาเป็นตัวอย่างสองแบบ
แบบแรกตามภาพบน เป็นผ้าพันคอ ที่ลักษณะการทอค่อนข้างห่าง และตามภาพเดียวกันด้านล่าง เป็นผ้าแพร ที่ทอ
เสร็จแล้ว
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 15kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 ไมครอน หรือ 0.5 mm. (มิลลิเมตร) Low vacuum mode ภาพแบบ BEI COMPO (เป็นผ้าพันคอ)
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 15kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 ไมครอน หรือ 0.1 mm. (มิลลิเมตร) Low vacuum mode ภาพแบบ BEI COMPO (เป็นผ้าพันคอ) วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 10-12 ไมครอน
หรือ 0.010 -0.012 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 ไมครอน หรือ 0.5 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI (เป็นผ้าพันคอ)
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 ไมครอน หรือ 0.1 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI (เป็นผ้าพันคอ) วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 10-12 ไมครอน
หรือ 0.010 -0.012 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 15kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 ไมครอน หรือ 0.5 mm. (มิลลิเมตร) Low vacuum mode ภาพแบบ BEI COMPO (เป็นผ้าแพร)
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 15kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 ไมครอน หรือ 0.1 mm. (มิลลิเมตร) Low vacuum mode ภาพแบบ BEI COMPO (เป็นผ้าแพร) วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 12-14ไมครอน
หรือ 0.012 -0.014 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 ไมครอน หรือ 0.5 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI (เป็นผ้าแพร)
ภาพนี้ฉาบเคลือบทอง ด้วยเวลา 40 วินาที ทำให้เคลือบได้บาง เวลาถ่ายทำให้ Charging up แนะนำต้องฉาบ 150-180 วินาที
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 ไมครอน หรือ 0.1 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI (เป็นผ้าแพร วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 12-14 ไมครอน
หรือ 0.012 -0.014 มิลลิเมตร
ภาพนี้ฉาบเคลือบทอง ด้วยเวลา 40 วินาที ทำให้เคลือบได้บาง เวลาถ่ายทำให้ Charging up แนะนำต้องฉาบ 150-180 วินาที
มาดูอีหนึ่งตัวอย่างกัน ตามภาพเรานำเส้นใยไหมมาศึกษา แล้วนำเข้าไปฉาบเคลือบทอง ให้นำไฟฟ้าก่อน
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 ไมครอน หรือ 0.1 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 16-22 ไมครอน
หรือ 0.016 -0.022 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 500เท่า สเกล 50 ไมครอน หรือ 0.05 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 16-22 ไมครอน
หรือ 0.016 -0.022 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 1000เท่า สเกล 10 ไมครอน หรือ 0.01 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 16-22 ไมครอน
หรือ 0.016 -0.022 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 ไมครอน หรือ 0.1 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 16-22 ไมครอน
หรือ 0.016 -0.022 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 500เท่า สเกล 50 ไมครอน หรือ 0.05 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 16-22 ไมครอน
หรือ 0.016 -0.022 มิลลิเมตร
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM 10kv (กิโลโวลท์) กำลังขยาย x 1000เท่า สเกล 10 ไมครอน หรือ 0.01 mm. (มิลลิเมตร) High vacuum mode ภาพแบบ SEI วัดขนาดความกว้างใย ออกมาแล้ว 16-22 ไมครอน
หรือ 0.016 -0.022 มิลลิเมตร
โรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอขนาดกลาง ถึงใหญ่ ส่วนใหญ่ต้องมีการควบคุมการผลิต ให้ได้เป็นมาตรฐานตลอด เพราะบางที
นอกจากจะมีปัญหาเรื่องวัตถุดิบของเส้นใยแล้ว จะมีปัญหาเรื่องเครื่องจักรที่ใช้ทำเส้นใย และทอ ทำให้หลายโรงงานต้องใช้
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดเป็นเครื่องทดสอบด้านมาตรฐาน คุณภาพ QC และR&D ค่ะ
*********************************************************************
บทความน่าสนใจอื่นๆ
สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด
บทความน่าสนใจอื่นๆ มากกว่า 100 บทความ คลิกลิงค์ข้างล่างค่ะ
##############################################################################
เส้นใย,สิ่งทอ,เส้นไหม,เส้นใยสังเคราะห์ ,fibers,วิเคราะห์เส้นใย,วัดขนาดเส้นใย,ถ่ายภาพเส้นใยด้วยSEM,
วิเคราะห์ใยสังเคราะห์,วิเคราะห์สิ่งทอ,การย้อมไหม,การย้อมเส้นใย,ควบคุมคุณภาพสิ่งทอ,ควบคุมคุณภาพเส้นใย